วิธี เก็บ กระ เพรา

จอง-ร-ร-เชยงใหม
Saturday, 11 June 2022

/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 ในอัตรา 30-50 กก. /ไร่ หลังปลูกประมาณ 2-4 อาทิตย์ เมื่อต้นกล้าตั้งต้นได้แล้ว การเก็บเกี่ยว การเก็บกระเพราจะเริ่มเก็บได้หลังการปลูก 40-50 วัน และเก็บได้อย่างต่อเนื่องอีกหลายเดือน หากไม่มีการเก็บโดยการถอนทั้งต้น ซึ่งควรเก็บกิ่งแก่ในระยะก่อนออกดอกหรือเริ่มออกดอกซึ่งจะได้กระเพราที่มีกลิ่นหอมแรง 2. การปลูกในแปลงขนาดเล็ก การปลูกในแปลงขนาดเล็กอาจใช้วิธีการยกร่องสูง 20-30 ซม. หรือไม่ยกร่อง ซึ่งเริ่มด้วยการพรวนดิน และกำจัดวัชพืชในแปลง และตากดิน 2-3 วัน การปลูกด้วยต้นกล้า เนื่องจากเป็นการปลูกในปริมาณน้อยจึงเตรียมกล้าในแปลงบางส่วนที่เตรียมไว้หรือเตรียมในดินที่ว่างนอกแปลงแล้วจึงย้ายมาปลูกในแปลงในระยะ 30-40 ซม. /ต้น หากปลูกเพื่อการค้ามักปลูกในระยะถี่ขึ้น เช่น 20-30 x 20-30 เซนติเมตร การปลูกด้วยการหว่านที่มักปลูกเพื่อการค้า จะใช้วิธีหว่านเมล็ดลงแปลง โดยพยายามให้เมล็ดตกห่างกันให้มากที่สุด 20-30 ซม. พร้อมด้วยใช้คราดเกลี่ยดินกลบเล็กน้อย การดูแลรักษาจะเหมือนกับการปลูกในแปลงใหญ่แต่อาจไม่พิถีพิถันมากก็ได้ และที่สำคัญควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ การเก็บกระเพราด้วยการปลูกเพื่อรับประทานเองจะไม่เก็บด้วยการถอนทั้งต้น แต่จะค่อยๆเก็บรับประทานเมื่อต้องการได้อย่างตลอดนาน 1-2 ปี หรือมากกว่านั้นขึ้นกับการดูแลรักษา 3.

วิธีเก็บมะนาว กระเพรา และพริก ให้อยู่ได้เป็นเดือน ใช้ได้นาน – Standard Post Today

กระเพรา และการปลูกกระเพรา | พืชเกษตร.คอม

Maysylvie 2 พฤศจิกายน 2563 ( 10:00) เมนูกระเพรา หรือ ใบกระเพรา ถือเป็นพืชผักสวนครัวคู่คนไทยแทบทุกบ้าน ด้วยความหอม และเผ็ดร้อนแถมนำมาทำเมนูได้หลากหลาย คราวนี้เราเลยจะมาแชร์เคล็ดลับ วิธีเก็บใบกระเพรา ได้นานเป็นปี ไม่เน่าไม่เสีย แถมหยิบออกมาใช้ง่าย เหมาะสำหรับคนที่ไม่สะดวกไปจ่ายตลาดบ่อยๆ เด็กหอ หรือคนไทยที่อยู่ในต่างประเทศ สามารถซื้อทีละมากๆ ล้างและเก็บใช้ได้ยาวๆ แถมวิธีนี้ยังคงความหอมของใบกระเพราเหมือนซื้อมาใหม่อีกด้วย ว่าแต่วิธีการเก็บใบกระเพราได้นานเป็นปีแบบนี้จะมีวิธีอย่างไร ตามมาดูกันเลย! แจกสูตร 10 เมนูกะเพรา รสเด็ด เปลี่ยนเมนูสิ้นคิดให้ไม่น่าเบื่ออีกต่อไป! 8 ผักสดเก็บได้นาน พร้อมวิธีการเก็บผักสดให้ถูกต้อง ไม่เน่าไม่เสียเป็นอาทิตย์!

วิธีเก็บพริก เก็บมะนาว กระเพรา ให้อยู่ได้นานๆ ไม่เสียไม่เน่าง่ายๆ ประหยัด เ งิ น ได้มาก - สาระดีๆ

ปลูกโดยการหว่านเมล็ด การปลูกด้วยวิธีนี้จะต้องใช้เมล็ดพันธุ์มากและใช้แรงงานมากในการถอนแยก โดยเริ่มจากรดน้ำให้ชุ่มทั่วแปลง แล้วหว่านเมล็ดพันธุ์ให้กระจายสม่ำเสมอทั่วแปลง โดยทั่วไปใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 250 กรัมต่อไร่ ใช้แกลบขาวหรือแกลบดำโรยคลุมให้ทั่วแปลง หลังจากนั้นใช้ฟางแห้งหรือหญ้าแห้งคลุมทับบางๆ เสร็จแล้วให้รดน้ำตาม และรดน้ำทุกๆ วัน หลังจากงอกประมาณ 15-20 วัน ควรทำการถอนแยกให้ได้ระยะระหว่าง 20x20 เซนติเมตร 2. ปลูกโดยการใช้ต้นกล้า เป็นวิธีที่เกษตรกรนิยมปฏิบัติกันมากเพราะให้ผลผลิตสูงและสะดวกในการจัดการ โดยทำการเพาะกล้าในแปลงเพาะจนกระทั่งกล้ามีอายุ 20-25 วัน จึงทำการย้ายปลูก การย้ายปลูกควรทำในตอนเย็นและปลูกให้เสร็จภายในวันเดียวกัน เมื่อถอนต้นกล้ามาแล้วจึงเด็ดยอดออก ขุดหลุมให้ได้ระยะ 20x20 เซนติเมตร แล้วนำต้นกล้าที่เด็ดยอดแล้วลงปลูก หลังจากนั้นใช้ฟางหรือหญ้าแห้งคลุมระหว่างแถว รดน้ำตามทันทีและรดน้ำทุกวัน 3. ปลูกโดยการใช้ต้นและกิ่งแก่ การปลูกโดยใช้ลำต้นและกิ่งแก่ทำให้ได้ผลผลิตเร็ว แก่กิ่งและยอดที่แตกออกมาใหม่มักไม่สวนเท่าที่ควร ลำต้นโทรมและตายเร็ว วิธีการโดยตัดต้นและกิ่งแก่ที่มีอายุมากกว่า 8 เดือน ให้มีความยาว 5-10 เซนติเมตร เด็ดยอดและใบออก แล้วนำต้นหรือกิ่งแก่ไปปักชำในแปลง ใช้ระยะปลูก 20x20 เซนติเมตร หลังจากนั้นใช้ฟางหรือหญ้าแห้งคลุมระหว่างแถว รดน้ำตามทันที และหลังจากปลูกควรรดน้ำทุกวัน

แชร์เคล็ดลับ! วิธีเก็บใบกระเพรา ได้นานเป็นปี หยิบใช้ง่าย คงความหอมเหมือนใหม่!

กระเพรา ถือเป็นผักสวนครัวที่ได้รับความนิยมมากชนิดหนึ่ง เนื่องจากมีกลิ่นหอมแรง และให้รสเผ็ด เหมาะสำหรับนำมาประกอบอาหารโดยเฉพาะเมนูผัดกระเพรา และใส่ในอาหารจำพวกต้มยำต่างๆ กระเพรา ถือเป็นพืชล้มลุกอายุหลายปี ต้นแม่ต้นหนึ่งอาจมีอายุมากกว่า 5 ปี หากได้รับการดูแล ให้ปุ๋ย ให้น้ำเป็นประจำ ลำต้นมีลักษณะเป็นเหลี่ยม แตกกิ่ง และใบออกตามข้อ ใบจะแตกออกเป็นคู่ด้านซ้ายขวา ขอบใบเป็นเว้าเป็นร่องคล้ายฟันเลื่อย และมีขนปกคลุมใบ ใบกว้าง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. ขึ้นอยู่กับพันธุ์ ส่วนดอกแตกออกเป็นช่อหลายช่อมีลักษณะดอกคล้ายแมงลัก พันธุ์กระเพรา 1. กระเพราใบเขียว ก้านแดง เป็นพันธุ์ที่มีใบ และดอกเป็นสีขาว แต่มีลักษณะก้านใบ และก้านดอกเป็นสีแดง รวมถึงใบเขียวหรือเขียวอมแดง 2. กระเพราใบเขียว ก้านเขียวหรือก้านขาว เป็นพันธุ์ที่มีก้านใบ ก้านดอก ใบ เป็นสีเขียว และดอกเป็นสีขาว 3. กระเพราใบแดง ก้านแดง เป็นพันธุ์มีก้านใบ ก้านดอก และดอกเป็นสีแดงอมม่วง ใบมีสีแดงม่วงอมเขียว กระแพรว หรือ อีสานเรียก อีตู่ไทย กระแพรว/อีตู่ไทย เป็นสายพันธุ์กระเพราอีกลักษณะหนึ่ง ซึ่งมักพบตามหัวไร่ปลายนาจะมีลักษณะใบเล็ก และมีขนมากกว่า ซึ่งจะมีกลิ่นหอมรุนแรง และให้รสเผ็ดมากกว่า บางครั้งชาวบ้านนิยมเรียกว่า กระแพรว นิยมปลูก และนำมารับประทานมากขึ้นในปัจจุบัน การปลูกกระเพรา การปลูกกระเพรามีทั้งการปลูกเพื่อการขายในแปลงขนาดใหญ่ และการปลูกเพื่อรับประทานเองภายในบ้านที่อาจปลูกในแปลงดินที่ว่างขนาดเล็กหรือการปลูกในกระถาง ด้วยแยกกล้าปลูก และการหว่านเมล็ด ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1.

แกล้ง "กะเพรา" วิธีทำให้ต้นกระเพราโตเร็ว ออกใบเยอะ อายุยืน

วิธีทำ ผัดกระเพราเป็ด | อาหารภาคกลาง

ก่อนอื่นให้เช็คดูพริกในถุงก่อน เพราะในถุงพริกจะมีบางเม็ดที่เหี่ยวหรือเน่าแล้ว ให้คัดทิ้งไปเลย ไม่ต้องเสียดาย 2. หลังจากนั้นให้เด็ดขั้วพริกออกจากตัวพริก จากนั้นให้นำไปล้างให้สะอาดแล้วผึ่งลมให้แห้ง 3. หลังจากพริกที่เสด็จน้ำจนแห้งแล้ว ให้นำไปห่อในกระดาษหนาๆ ใช้กระดาษาทิชชู่ห่อไว้หนาๆเลยก็ได้ จะทำให้เก็บพริกได้ ถึง 2 สัปดาห์เลย หรือนำไปใส่กล่องที่มีฝาปิดสนิท (ต้องสนิทจริงๆ 4. ที่สำคัญห้ามให้อากาศเข้าไปได้) แล้วแช่ตู้เย็นไว้ ก็จะเก็บได้นานถึง 1 เดือนเลยทีเดียว วิธีเก็บระเพรา 1. ขั้นตอนแรกนำผักมาต้มไม่นาน และนำมาน็อคด้วยน้ำเย็น 2. หลังจากนั้นนำผักมาปั้นเป็นก้อนเพื่อสกัดน้ำออก 3. สุดท้ายนำไปใส่ถุงซิปล็อคแช่ตู้เย็นที่ช่องฟรีซ โดยวิธีการนี้คนไทยในต่างแดนสามารถเก็บผักไว้กินได้เป็นปี ขอขอบคุณคลิปจาก: ThaiPBS เขียน/เรียบเรียงโดย:

การปลูกกระเพรา - กระเพราสมุนไพรไทย

กระเพราใบเขียว ก้านแดง เป็นพันธุ์ที่มีใบ และดอกเป็นสีขาว แต่มีลักษณะก้านใบ และก้านดอกเป็นสีแดง รวมถึงใบเขียวหรือเขียวอมแดง เป็นกระเพราที่มีกลิ่นฉุน และ เผ็ดร้อน กำลังพอดี เหมาะสำหรับนำมาทำผัดกระเพรา เพราจะได้รสชาติกระเพราที่กลมกล่อม หอมกำลังพอดี 2. กระเพราใบเขียว ก้านเขียวหรือก้านขาว เป็นพันธุ์ที่มีก้านใบ ก้านดอก ใบ เป็นสีเขียว และดอกเป็นสีขาว มีใบใหญ่ รสชาติออกหวาน ไม่ค่อยมีกลิ่นฉุนหรือรสเผ็ด 3. กระเพราใบแดง ก้านแดง เป็นพันธุ์มีก้านใบ ก้านดอก และดอกเป็นสีแดงอมม่วง ใบมีสีแดงม่วงอมเขียว เป็นกระเพราที่มีกลิ่นฉุนมาก และ รสเผ็ดรอนมากที่สุดในกระเพราทั้งหมด เหมาะสำหรับนำมาทำอาหารที่ต้องการปรุงรสให้เผ็ดร้อน เช่น ต้มโคล้ง หรือ ผัดกระเพราที่มีรสจัด วิธีการปลูกกะเพราด้วยการปักชำ วิธีปักชำทำได้โดยการเลือกเอากิ่ง กลางแก่ กลางอ่อน มาเด็ดส่วนยอดดอก นำไปปักชำในกระถาง หรือแปลงที่เตรียมไว้ เทคนิคการปักคือ ให้ปักต้นเฉียง 45 องศา แล้วนำดินมากลบส่วนที่ปักชำบาง ๆ จากนั้น เอาฟางคลุมและรดน้ำให้ชุ่มเป็นอันเสร็จเรียบร้อย วิธีการปลูกกะเพราด้วยเมล็ด 1. เตรียมดินละเอียดเทลงไปในกระถาง 2. หว่านเมล็ดให้ทั่วแปลง ใช้ฟางกลบ หรือปุ๋ยคอกโรยทับบางๆ 3.

การปลูกในแปลงขนาดใหญ่ การเตรียมกล้าพันธุ์ การเตรียมกล้าพันธุ์จะใช้วิธีการหว่านเมล็ดในแปลงเพาะกล้าตามขนาดปริมาณที่ปลูก ด้วยการไถหน้าดินให้ลึก พร้อมกำจัดวัชพืช และหว่านกล้าพันธุ์ลงแปลง หลังจากนั้นจะให้น้ำ 1-2 ครั้ง/วัน จนกล้าแตกใบแท้ 2-5 ใบ ก็ย้ายลงปลูกในแปลง การเตรียมแปลง – การปลูกในแปลงขนาดใหญ่มีทั้งรูปแบบแปลงยกร่อง และแปลงที่ไม่ยกร่องโดยควรมีขนาดแปลงกว้าง ประมาณ1. 5-2. 5 เมตร ความยาวตามความเหมาะสมของพื้นที่ – ไถดะกลบวัชพืช และตากหน้าดินนาน 5-10 วัน ขึ้นอยู่กับชนิดดิน – ทำการหว่านปุ๋ยหมัก ปุ๋ยมูลสัตว์ ในอัตรา 500 กก. /ไร่ ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 ในอัตรา 10-30 กก. /ไร่ หรือใช้ปุ๋ยคอกรองพื้นอย่างเดียว – ทำการไถกลบอีกรอบ พร้อมกำจัดวัชพืช และตากดินประมาณ 1 สัปดาห์ หรืออาจน้อยกว่า วิธีการปลูก – ย้ายต้นกล้า โดยควรให้มีดินติดรากมาด้วย และควรปลูกทันทีเมื่อมีการถอนย้าย – ระยะที่ปลูกในระหว่างแถว และหลุมปลูก ที่ 20-40 x 20-40 เซนติเมตร หากปลูกเพื่อการค้ามักปลูกในระยะถี่ขึ้น เช่น 20-30 x 20-30 เซนติเมตร – หลังจากปลูกเสร็จให้รดน้ำให้ชุ่ม การดูแล – ให้น้ำหลังจากปลูกวันละ 1-2 ครั้ง หรืออาจให้วันเว้นวันเมื่อต้นกระเพราแตกกิ่งเป็นพุ่มใหญ่ – ให้ปุ๋ยคอก อัตรา 200 กก.

  1. แชร์เคล็ดลับ! วิธีเก็บใบกระเพรา ได้นานเป็นปี หยิบใช้ง่าย คงความหอมเหมือนใหม่!
  2. ล็อค ผม ตรง
  3. แกล้ง "กะเพรา" วิธีทำให้ต้นกระเพราโตเร็ว ออกใบเยอะ อายุยืน