ภาวะ Burn Out | ภาวะ Burnout Paradise

เกาอ-พกผอน-ราคา-ถก
Saturday, 11 June 2022

ชวนรู้จักโรค Burnout Syndrome ที่อาจเกิดขึ้นได้บ่อยกับคนวัยทำงานสมัยนี้ โดยเฉพาะในยุค "โควิด-19" ที่สถานการณ์ต่างๆ มีความตึงเครียดทุกวัน แถมการทำงานแบบ Work From Home ก็อาจไม่เหมาะกับทุกคน บางคนยิ่งเครียดก็ยิ่งคิดงานไม่ออกมากกว่าเดิม หนุ่มสาววัยทำงานสมัยนี้คงรู้จัก "Burnout" (ภาวะหมดไฟในการทำงาน) กันเป็นอย่างดี โดยเฉพาะในยุคโรคระบาด "โควิด-19" หลายคนทำงานที่บ้านหรือ Work From Home แล้วเกิดอาการนอยด์ เนือย เหนื่อยหน่าย และคิดงานไม่ออกมากกว่าตอนทำงานที่ออฟฟิศซะอีก ทำไมคนทำงานถึงเกิดความรู้สึกแบบนั้นขึ้นมา? และ Burnout Syndrome อันตรายแค่ไหน?

Of 10

ภาวะ burn out definition
  • ภาวะ burn out book
  • ภาวะ burn out youtube
  • Artichoke โครงการ หลวง
  • ภาวะ burn out our blog
  • ภาวะ burn out than to fade away
  • ภาวะ burn out movie

10 วิธีแก้ปัญหา Burn out มนุษย์เงินเดือน แบบเด็ดขาด - ไทยเอสเอ็มอีเซ็นเตอร์ | รวมเอสเอ็มอีไทย SMEs

1. มีปัญหาเรื่องการจัดการชีวิต หากคุณเป็นคนที่มีปัญหาในการจัดตารางงานและตารางการใช้ชีวิต เช่น เมื่อมีเรื่องที่ต้องให้ทำเข้ามาพร้อมๆ กันหลายอย่าง ไม่สามารถจัดลำดับความสำคัยได้ว่าควรทำอะไรก่อนหลัง หรือไม่สามารถรับผิดชอบงานของตนให้สำเร็จลุล่วงได้ ถ้าเป็นแบบนี้บ่อยๆ ก็จะนำไปสู่ภาวะ Burnout ได้ง่าย 2. งานที่ทำไม่เหมาะกับตนเอง หลายครั้งที่ชีวิตของมนุษย์เงินเดือนไม่สามารถเลือกงานที่ตัวเองถนัดได้เสมอไป บางครั้งได้รับมอบหมายงานที่ไม่อยู่ในความสนใจหรือไม่ถนัด และถูกคาดหวังอย่างมากจากเจ้านาย หัวหน้างาน หรือเพื่อนร่วมงาน จนทำให้รู้สึกอึดอัดใจ เกิดความเครียดตามมา เมื่อเครียดสะสมบ่อยๆ เข้าก็เป็นสาเหตุของภาวะ Burnout ได้ 3. งานที่ทำต้องใช้พลังเยอะมาก หากงานที่คุณทำ มีลักษณะงานประมาณว่าต้องใช้พลังความคิดเยอะ เดินทางไปนั่นนี่ตลอดเวลาทั้งวัน ค่อนข้างวุ่นวาย ต้องจัดการปัญหาหลายๆ อย่างที่เข้ามาพร้อมกันจนต้องใช้พลังงานทั้งหมดที่มีมุ่งไปที่งานตลอดเวลา จนไม่ได้พัก นี่ก็เป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ทำให้คุณเหนื่อยล้าและหมดไฟได้ในที่สุด 4. ขาดสมดุล Work Life balance ช่วงนี้ได้ออกไป HangOut บ้างหรือเปล่า? หากงานที่ทำนั้นต้องอาศัยทั้งเวลาและแรงกายเป็นอย่างมาก หรือเป็นงานที่กินเวลาส่วนตัวไปด้วย จนทำให้ไม่มีเรี่ยวแรงเหลือพอไปเข้าสังคมหรือสังสรรค์กับเพื่อนๆ หรือครอบครัวได้ นี่ก็ทำให้คุณมีอาการหมดไฟเร็วขึ้นได้เช่นกัน 5.

จัดการงานให้เป็นระบบ เมื่องานมันมากไปหรือรับมาแล้วปนกันจนมั่วไปหมด เราเพียงแค่จัดการงานให้เป็นระบบ เช่น การใช้วิธีจัดลำดับความสำคัญของงานด้วยการวาดตาราง, ใช้ปฏิทิน To Do List ฯลฯ เพื่อกระตุ้นให้ทำงานอย่างเป็นระบบ งานเสร็จทันเวลาจะได้ไม่รู้สึกเครียด 2. รับงานแต่พอดี อย่ารับงานมากเกินไปบางคนนอกจากงานประจำยังดันไปรับฟรีแลนซ์มาเพิ่มอีก ถ้ารับงานโดยไม่ประเมินศักยภาพตัวเองจากความสุขจะกลายเป็นความทุกข์ วิธีแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด คือ การรับงานแต่พอดีเพื่อให้ร่างกายและสมองได้หยุดพักบ้าง และช่วยทำให้เราโฟกัสงานได้ดีขึ้นกว่าเดิมด้วย 3. ออกกำลังกายเป็นประจำ แม้เราจะยุ่งแสนยุ่งหรือไม่มีเวลาแต่ความจริงแล้วคือเราไม่รู้จักจัดสรรเวลาต่างหาก ใน 1 สัปดาห์หาเวลาว่างสักอาทิตย์ละ 1-2 ครั้งเพื่อออกกำลังกายบ้าง ให้ร่างกายได้ยืดเส้นยืดสาย และสร้างฮอร์โมนใหม่ๆ ให้ร่างกายสดชื่น 4. จัดการความเครียด วิธีการคลายเครียดมีหลายวิธีเช่น การนอนฟังเพลงเบาๆ, การดูภาพยนตร์ที่ชื่นชอบ, ออกไปเที่ยวและนั่งรถเล่น เป็นต้น เมื่อได้วิธีจัดการความเครียดที่เหมาะสมกับจะทำให้ชีวิตของเรามีความสมดุลมากยิ่งขึ้น 5. สร้างแรงบันดาลใจให้ตัวเอง แรงบันดาลใจที่ดีจะเป็นตัวช่วยเตือนสติให้เราคิดถึงสิ่งที่มุ่งหวังได้อย่างดีเยี่ยม เมื่อเราเกิดภาวะหมดไฟจนอยากจะลาออกและหาสมัครงานที่ใหม่ เพียงแค่ได้เห็นหรือได้ยินแรงบันดาลใจเหล่านี้ ก็สามารถทำให้เปลี่ยนใจและฮึดสู้ขึ้นมาทันทีหรือทำให้รู้สึกตัวว่าเราทำงานเพื่ออะไร?

ถ้าเรารู้สึก Burnout นาน ๆ ก็สามารถเป็นโรคซึมเศร้าได้!

  1. ราคา ไอ โฟน x factor
  2. ปรีดา เตียสุวรรณ์ ประวัติ