Dti 1G ของ ไทย – อัพเดทล่าสุดโครงการจรวดของ Dti – Thaiarmedforce

เกาอ-พกผอน-ราคา-ถก
Saturday, 11 June 2022

๕๖) SR4 จาก NORINCO สาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน ๔ระบบ พร้อมรถจ่ายจรวด, ระบบควบคุมและบัญชาการและที่บังคับการ Toyota Prado วงเงิน ๖๙๖ล้านบาท เครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องอัตตาจร จลก. ๕๖ SR4 เข้าประจำการเมื่อปี พ. ๒๕๕๖(2013) ณ กองพันทหารปืนใหญ่ที่๗๑๑ กองพลทหารปืนใหญ่ และเป็นที่เข้าใจว่าได้มีการจัดหาเพิ่มเติมอีก ๒ระบบ รวม ๖ระบบครบหนึ่งกองร้อยแล้ว() ซึ่ง ป. พัน๗๑๑ พล. ป. เป็นกองพันเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องซึ่งมีเครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องหลายแบบประจำการในกองพัน เช่น เครื่องยิงจรวดและจรวดนำวิถีหลายลำกล้องอัตตาจรล้อยางแบบ DTI-1 และ DTI-1G ขนาด 302mm ที่ DTI ไทยร่วมมือในการพัฒนากับจีน แต่ทั้งนี้การพัฒนาระบบจรวด DTI-2 122mm ที่เข้าประจำการใน ป. เช่นกันนั้น เป็นออกแบบและพัฒนาในไทยเองทั้งหมดโดยไม่มีต่างชาติเข้ามาเกี่ยวข้อง นี้ เป็นแสดงถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมความมั่นคงเพื่อพึ่งพาตนเองของไทยครับ

DTI-1G ความภาคภูมิใจของไทย - Pantip

dti 1g ของ ไทย properties

AAG_th บันทึกประจำวัน: DTI ไทยประสบความสำเร็จในการทดสอบการยิงจรวดหลายลำกล้อง DTI-2 122mm

แบบอัตตาจร ระหว่าง กองทัพบก และ สทป. โดย สทป. ได้รับมอบ รถสายพานติดเครื่องยิงจรวดขนาด 130 มม. (จลก. 31) ที่มีระยะยิงไกล 10 กม. ของกองทัพบกที่ใช้ในราชการอยู่เดิมและมีอายุการใช้งานเป็นเวลานาน มาดำเนินการวิจัยพัฒนาปรับปรุงเพิ่มสมรรถนะและติดตั้งแท่นยิงจรวดหมายลำกล้องขนาด 122 มม. ทดแทนแท่นยิงจรวดขนาด 130 มม. เดิม ซึ่ง สทป. มีขีดความสามารถในการผลิตลูกจรวดหลายลำกล้องขนาด 122 มม. ที่เป็นลูกจรวดสมรรถนะสูงที่มีระยะยิงไกลสุด 40 กม. ได้เองภายในประเทศ เป็นการเพิ่มระยะยิงและขีดความสามารถของอาวุธรวมทั้งเป็นแนวทางสู่การพึ่งพาตนเองและพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศที่สำคัญ การดำเนินการได้เปลี่ยนแท่นยิงจรวดขนาด 130 มม. แบบควบคุมด้วยมือที่ใช้งานอยู่เดิม เป็นแท่นยิงจรวดหลายลำกล้องขนาด 122 มม. จำนวน 20 ลำกล้อง แบบควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าพร้อมติดตั้งระบบจุดจรวดและระบบระบุพิกัดและชี้ทิศยิงอัตโนมัติ ดำเนินการเปลี่ยนเครื่องยนต์และระบบเกียร์ พร้อมระบบที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการเพิ่มสมรรถนะให้สามารถรองรับแท่นยิงและการใช้งานของระบบจรวดขนาด 122 มม. ได้ โดยใช้กระบวนการวงจรการจัดการผลิตภัณฑ์ (Product Lifecycle Management) ในการออกแบบวิจัยและพัฒนาจนเสร็จสิ้น ผลของการวิจัยพัฒนา จลก.

ยิงไกล 10 กม. และทดสอบยิงได้ผลดี ทบ. จึงเข้ามาร่วมมือ เพื่อให้พัฒนาลูกจรวด DTI-2 เอาไว้ใช้กับระบบ SR4 (ขนาดเท่ากัน) และระบบ Type82 บนรถสายพาน (จลก. 31 ซึ่งเดิมเป็นขนาด 130 มม. ) โดยได้สร้างจรวดต้นแบบและทดสอบยิงจรวดระยะ 10 และ 40 กม. จากนั้นได้พัฒนาจรวดฝึก ยิงไกล 10 กม. พัฒนา จลก. 31 ให้ยิงจรวด 122 มม. ได้ แล้วสร้างจรวดต้นแบบ ยิงไกล 10 30 และ 40 กม. สำหรับระบบจรวด SR4 รวมทั้งรถยิงจรวดดัดแปลงจาก จลก. 31 เพื่อเตรียมให้ กมย. รับรอง นอกจากนี้จะมีการทำวิศวกรรมย้อนกลับ ส่วนขับเคลื่อนจรวด หัวรบ และชุดท่อยิงด้วย สรุปตอนนี้มีรถยิงที่ดัดแปลงจาก จลก. 31 1 คัน และลูกจรวดจำนวนพอสมควร (หลายสิบนัด) ทดสอบยิงไปเป็นร้อยนัดแล้ว สำหรับจรวด DTI-2G ชะลอไปก่อน เพื่อหาแนวทางพัฒนาให้มีระบบนำวิถีแบบติดตามเป้าหมายได้ (ยิงเป้าเคลื่อนที่ได้) + DTI-x พัฒนาระบบ จลก. นำวิถี ยิงไกล 80 กม. (ระยะปานกลาง) แผนเดิมขนาด 302 มม. ตอนนี้จะปรับมาทำเป็นขนาด 122 มม. แทน … ป. ล. ยังไม่มีโครงการสำหรับจรวดอย่างอื่น ป. 2 ครั้งหน้าจะเป็นเรื่องรถเกราะล้อยาง ที่มา: แผนปฏิบัติงาน DTI เมนูนำทาง เรื่อง

ไทยควรเสริมกำลังรบให้ทหารปืนใหญ่ ทดแทนเครื่องบินที่ลดลงของกองทัพอากาศ – การทูตและการทหาร Military&Diplomacy

ก็จะนำขีปนาวุธทางยุทธวิธีเช่น Iskander เข้ามาประจำการในแนวหน้า โดยเฉพาะการยิงทำลายระบบป้องกันทางอากาศของข้าศึก กองบัญชาการ เป็นต้น เนื่องจากจรวดกลุ่มSRBM มีความแม่นยำสูงกว่า หัวรบรุนแรงกว่า และในหัวรบมีการนำทางที่หลากหลาย (ขนาดจรวด600มม. ) ในขณะที่MLRS ขนาด300-400มม. ถึงมีการนำวิถีแต่ยังมีความคลาดเคลื่อนในระยะไกล จากที่ยิงไปตกคลุมพื้นที่เป็นตารางกิโลเมตร ก็ตกเป็นกลุ่มใกล้กันมากขึ้น ขนาดWS-2B ตกห่างจากเป้าหมายถึง450เมตร.... พูดง่ายๆว่าให้จรวดที่ยิงออกไปเป็นกลุ่มตกใกล้เป้าหมายให้มากที่สุด แต่ไม่แม่นยำเท่าจรวดทางยุทธวิธีเป๊ะๆนั้นเอง..... อีกทั้งน้ำหนักหัวรบก็เบากว่า ด้วยเหตุข้างต้นแม้แต่รัสเซียที่พัฒนาMLRS ขนาดหนักยังไม่พัฒนาระยะยิงไกลกว่า90ก. แต่เน้นตกใกล้เป้าหมายให้มากที่สุด ในระยะยิงไกลออกไปก็เป็นSRBM นั้นเอง ต่อไปก็คงเป็นพิสัยไกลเหมือน SCUD แล้วล่ะครับ เพราะว่าต่อไปไทยก็คงให้จีนวิจัยอีกอยู่ดี ขอบคุณมากอีกครั้งหนึ่งครับท่าน MIG31 นึกว่าใช้ระบบนำวิถีแบบปรับแต่งการโคจรได้ระหว่างทางจะทำให้มีความแม่นยำพอในระยะ 400 km. แต่ยังตกห่างถึง 450 m ทีเดียว ดังนั้นก็ต้องซัลโวเป็นชุดสินะครับเวลายิงจริง แบบว่ายิงหมดแม๊ก 6 นัดเลยแล้วให้หัวรบอัมภัณฑ์แตกออกมาตกคลุมพื้นที่เป้าทั้งมหด เหมาะสมกับยิงถล่มเมืองอุตสาหกรรม (ประชาชนตายเพียบแน่ๆ) สนามบิน ที่ตั้งทหารที่อยู่กันทั้งกองพล ทั้งกรม ศูนย์บัญชาการ (นักข่าวสงครามมีหนาว) ท่าเรือ ชุมทางรถไฟ แต่ถ้าต้องการแม่นเป๊ะๆ SRBM แท่นหนึ่งยิง 2 ลูก ดูดีกว่าสคัดเยอะเลยนะครับ ถ้าทบ.

ภาพปืนใหญ่ M198 ขนาด 155 มิลลิเมตรของกองทัพบกไทย (Armyman 1989/ Wikimedia Commons/ CC BY-SA 4.

"DTI-1G" รวมข่าวเกี่ยวกับ "DTI-1G" เรื่องราวของ"DTI-1G"

#DEFNET #DTI #DTI1G #สทป DTI-1G ขณะทำการทดสอบยิงที่ประเทศจีน สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) หรือ DTI ออกประกาศจัดหาระบบควบคุมการยิงจรวดหลายลำกล้องแบบ WS-32 เพื่อติดตั้งบนระบบจรวดหลายลำกล้องนำวิถีแบบ DTI-1G โดยในครั้งนี้เป็นการจัดหาระบบควบคุมการยิง (Fire Control Systems) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงการ "วิจัยและพัฒนาจรวดหลายลำกล้องนำวิถี" รหัสโครงการ "D1. 3" มูลค่าสำหรับการจัดหาระบบควบคุมการยิงในครั้งนี้อยู่ที่ 75.

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) หรือ DTI ได้ทำพิธีส่งมอบระบบจรวดหลายลำกล้องนำวิถีแบบ DTI-1G ให้กับกองทัพบก โดยจะเข้าประจำการที่กองอพันทหารปืนใหญ่ที่ 711 ค่ายพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นกองพันเดียวกับจรวดหลายลำกล้องแบบอื่น ๆ ทั้ง DTI-1, SR4, และ Type-85 ติดตั้งจรวดขนาด 130 มม. ในพิธีมีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นประธาน พร้อมด้วยเสนาธิการทหารบก ประธานกรรมการบริหารและผู้อำนวยการของ DTI เข้าร่วมพิธี โดยการส่งมอบในครั้งนี้เป็นการส่งมอบรถยิงจำนวน 2 คัน และรถบังคับการซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์อำนวยการยิงให้กับจรวด โดยพิธีกรในงานได้กล่าวว่ากองทัพบกจะบรรจุ DTI-1G เข้าประจำการจำนวน 3 คัน ซึ่งผู้อำนวยการของ DTI ได้กล่าวว่าตัวรถจรวดได้ทำการทดสอบยิงมาแล้วจำนวน 5 นัดที่สนามยิงทดสอบอาวุธของมิตรประเทศเมื่อเดือนมีนาคม 2558 ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ ตามเอกสารที่แจกในงาน DTI-1G มีระยะยิง 70-150 กิโลเมตร ความยาวลูกจรวด 6.

เวียดนาม

  1. Dti 1g ของ ไทย download
  2. Dti 1g ของ ไทย เวียดนาม
  3. เซ รั่ ม บำรุง ราก ผม
  4. ขนาด ของ power bank
  5. Magic shop bts แปล
  6. คำเชิญงานแต่งงานสีชมพูอ่อนดอกไม้ | แบบ PSD ดาวน์โหลดฟรี - Pikbest
  7. ขาย กรอบ g shock full
  8. Dti 1g ของ ไทย full

สนใจพวกนี้ในอนาคตก็น่าจะเป็นเรื่องดีมาก เวียตนามก็มีแล้วด้วยสคัด ปัญหาคือ DTI-1G จะเป็นจรวดขนาด 400 มม. จริงหรือเปล่าก็ไม่รู้ เพราะข้อมูลยังไม่แน่ชัดเลย

ย. 58)เมื่อ กลางเดือนกันยายนที่ผ่านมา DTI ได้จัดทดสอบยานเกราะ.. ดูเพิ่ม